FONT ฟอนต์ คืออะไร ฟอนต์ ฟอนต์ มาจากคำว่า “FOUNT” ซึ่งแปลว่า “สิ่งที่ถูกหลอม” ในสมัยก่อน หากต้องการพิมพ์ตัวหนังสือลงไปบนอะไรสักอย่างจะต้องใช้ “ตัวพิมพ์” slot ซึ่งมักจะสร้างมาจากโลหะที่เอามาหลอมลงในแม่พิมพ์
นั่นหมายความว่า ถ้าเราต้องการตัวอักษร ตัวหนา ตัวกว้าง หรือ ตัวเอียง เราจะต้องสร้าง “ตัวพิมพ์” ขึ้นมาใหม่ เพื่อรองรับตัวอักษรแบบนั้นๆ โดยเฉพาะ และนี่เอง ที่ทำให้เราเรียก “รูปแบบ” ของตัวอักษรที่แตกต่างกันว่า “FONT”
ฟอนต์ ฟอนต์ จึงถูกสร้างให้แตกต่างกัน โดยให้ความหมายว่า ความแตกต่างระหว่างฟอนต์ VS TYPEFACE
FONT คือ ชุดของตัวอักษรที่มีความแตกต่างกันทั้งทางด้านของขนาด ความหนา ความกว้าง และความเอียง
TYPEFACE คือ ชุดของรูปแบบตัวอักษร แต่ละชุดจะประกอบด้วย พยัญชนะ สระ ตัวเลข เครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ถูกออกแบบหรือคิดค้นขึ้นมาโดย “นักออกแบบตัวอักษร” ให้มีรูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีขนาด ความหนา ความกว้าง และความเอียงเท่ากัน
ฟอนต์ เป็น “รูปแบบ” หรือ “ลักษณะ” หนึ่งของ TYPEFACE เท่านั้น ซึ่งใช้ระบุขนาดที่เฉพาะเจาะจง เช่นความหนา ความกว้าง ความเอียง ของตัวอักษร ตัวอย่างเช่น Eurasia Condensed เป็นฟอนต์หนึ่ง Eurasia Extended ก็เป็นฟอนต์หนึ่ง แต่ทั้ง 2 ฟอนต์ นั้น อยู่ใน TYPEFACE เดียวกัน ซึ่งก็คือ “Eurasia”
ถาม? เปิดไฟล์งานเดียวกัน บนคอมสองเครื่อง จะเหมือนกันหรือไม่
ตอบ? ไม่เสมือนไป ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่างหลักๆ คือ หากคอมติดตั้งโปรแกรมเวอชั่นเหมือนกัน ฟอนต์ติดตั้งเหมือนกัน ก็จะเหมือนกัน แต่หากฟอนต์ในทั้งสองเครื่องไม่เหมือนกัน หรือในอีกเครื่องหนึ่งไม่มี โปรแกรมก็จะไปเลือกฟอนต์ที่เครื่องนั้นมี ซึ่งอาจมีขนาดตัวอักษรเล็กหรือใหญ่กว่า ทำให้ย่อหน้า จำนวนบรรทัด แตกต่างกันไป แสดงผลไม่เหมือนกัน
แก้ไข? ให้เซฟไฟล์งานเป็นไฟล์ PDF ก็จะหมดปัญหาเรื่องการเปิดใช้งานต่างเครื่องกัน แต่หากเซฟไฟล์งาน PDF ก็จะไม่สามารถแก้ไขไฟล์งานได้ ต้องมีโปรแกรมแก้ไขโดยเฉพาะ โดยไฟล์งานPDFจะบรรจุไฟล์งานต่างๆ เพื่อให้การแสดงเหมือนเดิม ซึ่งก็บรรจุฟอนต์ไว้ด้วยเช่นกัน เพื่อป้องกันปัญหาเครื่องที่นำไปใช้งานไม่มีฟอนต์นั้น
ทำให้เราสามารถเปิดเครื่องต่างๆได้โดยไม่มีปัญหา slotxo แต่หากต้องการแก้ไข เราต้องติดตั้งฟอนต์ที่ต้องการแก้ไขด้วย เนื่องจากเป็น ลิขสิทธิ์ของฟอนต์นั้นๆ ที่จะอนุญาติให้แก้ไขได้เฉพาะเครื่องที่มีฟอนต์นั้นติดตั้งอยู่ (หากขายฟอนต์เครื่องเดียวแล้วใช้งานได้ทุกเครื่องคงจะไม่ดี) เป็นเหตุผลให้ไม่สามารถแก้ไขไฟล์งาน PDF ได้
เพราะจะเปิดไฟล์งานเป็นภาษาต่างดาวบาง อ่านไม่ออกบ้าง ย่อหน้าไม่ได้บ้าง เป็นสาเหตุให้ไม่สามารถแก้ไขไฟล์งาน PDF ได้
ฟอนต์ ที่เราใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันแบ่งออกได้หลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น
ฟอนต์ แบบ Serif คือ แบบอักษรที่มีขีดเล็กๆอยู่ที่ปลายขอบตัวอักษร มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แบบโรมัน (roman) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากอักษรที่จารึกไว้ในหินของอาณาจักรโรมัน ฟอนต์ ประเภทนี้ เหมาจะใช้ในงานที่เป็นทางการและต้องการความน่าเชื่อถือ
*** คำว่า Serif เป็นคำที่มาจากภาษาดัตช์ shreef หมายถึงเส้นหรือจังหวะของปากกา
ฟอนต์ แบบ Sans Serif คือ แบบอักษรที่ไม่มีขีดที่ปลายขอบตัวอักษร มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า แบบกอทิก (gothic) ฟอนต์ ประเภทนี้ จะอ่านง่าย เหมาะสำหรับใช้พาดหัวเรื่องที่เป็นจุดเด่น และต้องการความทันสมัย
ถาม! ฟอนต์สามารถสร้างได้ไหม
ตอบ! สามารถสร้างได้ มีโปรแกรมสร้างฟอนต์สำเร็จรูปขายโดยทั่วไป ฟอนต์สามารถสร้างแล้วขายได้ด้วย ปัจจุบันมีฟอนต์ขายกันมากมาย ราคาแพงๆ ทำเป็นอาชีพก็ได้ ฟอนต์มีมากมายหลายแบบจนไม่สามารถติดตั้งฟอนต์ทั้งหมดในโลก เป็นคอนพิวเตอร์ทุกเครื่องได้ จึงต้องเลือกฟอนต์ที่ต้องการใช้งานเท่านั้น แต่ละคนชอบฟอนต์แตกต่างกัน แต่ละเครื่องจึงมีฟอนต์ที่ติดตั้งแตกต่างกัน ถึงจะมีมากกมาย แต่ความต้องการฟอนต์ใหม่ๆ ก็มีความต้องการอย่างต่อเนื่อง สล็อต ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป เรียกได้ว่า ต้องพัฒนากันเรื่อยๆ
*****คำว่า “sans” มาจากฝรั่งเศส แปลว่า “ไม่มี”
โครงสร้าง Font จะเป็นการเชื่อมโยงเส้นกันประกอบเป็นตัวอักษร ไม่ใช่ภาพ ทำให้การใช้งาน ฟอนต์ที่ขนาดแตกกต่างกัน ภาพความคมชัดสูง หากยิ่งขยายฟอนต์ก็ไม่แตก ทางเทคนิคเรียกการประกอบกันของเส้นนี้ว่าเป็น เวคเตอร์ และพัฒนาต่อไปเป็นการใช้เวคเตอร์ กับรูปภาพ ทำให้รูปภาพของเรา ขยายได้แบบความคมชัดคงเดิม ไม่แตก เป็นที่มาของการ พัฒนาเครื่อง animation เวคเตอร์ต่างๆ
ถาม! ฟอนต์ภาษาไทย กับอังกฤษ ต่างกันอย่างไร
ตอบ! เหมือนกัน ด้วยหลักการทำฟอนต์แบบเวคเตอร์ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรู้ว่านี้เป็นเพียงรหัสเวคเตอร์ ที่แสดงผลตามที่เราต้องการเท่านั้น ดังนัั้นในด้านคอมพิวเตอร์ คือฟอนต์ที่แสดงผลต่างกันเท่านั้น
บทความต่อไปที่น่าใจ Joyilda