รูปการ์ตูน ก้านกล้วยเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติของไทยที่ออกฉายใน พ.ศ. 2549 ผลิตโดยกันตนาแอนิเมชันและจัดจำหน่ายโดยสหมงคลฟิล์ม slot ชื่อภาพยนตร์ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดารว่าลักษณะของเจ้าพระยาปราบหงสาวดี ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาดคล้ายก้านกล้วย จึงตั้งชื่อภาพยนตร์และตัวละครเอกว่า ก้านกล้วย ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดยคมภิญญ์ เข็มกำเนิด ซึ่งเคยไปศึกษาการทำแอนิเมชันที่สหรัฐและเคยทำภาพเคลื่อนไหวร่วมกับดิสนีย์และบลูสกายสตูดิโอในภาพยนตร์แอนิเมชันอย่างทาร์ซาน, ไอซ์ เอจ และแอตแลนติส
รูปการ์ตูน ก้านกล้วยเป็นภาพยนตร์ที่มีเอกลักษณ์ไทย ทั้งภูมิทัศน์ พรรณไม้ ประเพณีไทย slotxo และบ้านทรงไทย นอกจากนี้ ยังเป็นแอนิเมชันไทยลำดับต้น ๆ ที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ต่อจากปังปอนด์และสุดสาครซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยถูกดัดแปลงเป็นการ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 ที่มีชื่อว่า ก้านกล้วยผจญภัย ซึ่งใช้ตัวละครที่มีอยู่เดิม แต่มีเนื้อหารายละเอียดมากขึ้น
ภาพยนตร์ ก้านกล้วย | |
---|---|
ตัวละคร | ให้เสียงพากย์ไทย |
ก้านกล้วย | อัญญาฤทธิ์ พิทักษ์ติกุล (วัยเด็ก) ภูริ หิรัญพฤกษ์ (วัยผู้ใหญ่) |
ชบาแก้ว | นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ (วัยเด็ก) วรัทยา นิลคูหา (วัยผู้ใหญ่) |
จิ๊ดริด | พงษ์สุข หิรัญพฤกษ์ |
แสงดา | นันทนา บุญ-หลง |
พังนวล | จุรี โอศิริ |
คุณตามะหูด | สุเทพ โพธิ์งาม |
สิงขร | รอง เค้ามูลคดี |
งวงแดง | เอกชัย พงศ์สมัย |
หัวหน้าหมู่พม่า | วสันต์ พัดทอง |
นายกองพม่า | ชาญณรงค์ ขันทีท้าว |
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช / พระองค์ดำ | บุญชลิด โชคดีภูษิต (วัยเด็ก) สุเมธ องอาจ (วัยผู้ใหญ่) |
พระมหาอุปราชา | สราวุธ เจริญลาภ (วัยเด็ก) กลศ อัทธเสรี (วัยผู้ใหญ่) |
มะโรง | ฤทธิเดช ฤทธิชุ |
มะโหนก | เจริญพร อ่อนละม้าย |
เสริม | วิยะดา จิตมะหิมา |
บึกอึด | พุทธิพันธ์ พรเลิศ |
ทหารพม่า | ธงชัย คะใจ |
องอาจ เจียมเจริญพรกุล | |
ธีระวัฒน์ ทองจิตติ |
ก้านกล้วย ได้รับการเปิดตัวในรูปแบบดีวีดีที่สหรัฐอเมริกา ในช่วงเดือนกันยายน ค.ศ. 2008 โดยใช้ชื่อในเวอร์ชันอเมริกันคือ The Blue Elephant
บริษัทเพอร์เซ็ปต์พิคเจอร์คอมพานีของอินเดีย ได้ซื้อสิทธิ์ภาพยนตร์และเปิดตัวในเวอร์ชันภาษาฮินดีโดยใช้ชื่อ Jumbo ซึ่งนักแสดงอินเดียชื่อ อักษัย กุมาร เป็นผู้ให้เสียงพากย์ตัวเอกของเรื่องที่ใช้ชื่อในเวอร์ชันนี้ว่า จัมโบ้
ตัวละครของก้านกล้วยและจิ๊ดริ๊ด ได้รับการปั้นเป็นหุ่นขี้ผึ้งจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งมาดามทุซโซต์ กรุงเทพ นับเป็นตัวการ์ตูนที่สร้างโดยคนไทยตัวแรกที่ได้สร้างเป็นหุ่นขี้ผึ้งโดยชาวต่างประเทศ และเป็นหุ่นขี้ผึ้งตัวเดียวในพิพิธภัณฑ์ที่ไม่ได้สร้างจากคนจริง
ก้านกล้วย 2 เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติของไทยที่ออกฉายใน พ.ศ. 2552 นับเป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ ก้านกล้วย ที่ออกฉายใน พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดยทวีลาภ ศรีวุฒิวงศ์ ผลิตและจัดจำหน่ายโดยกันตนาแอนิเมชัน มีเพลงประกอบภาพยนตร์ชื่อว่า “ทางที่ต้องเดิน” ขับร้องโดยอรรถพร ธีมากร สมัครสมาชิก PG SLOT ภาพยนตร์มีฉากในกรุงหงสาวดี
และมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับก้านกล้วยที่มีลูกแฝดกับชบาแก้ว แต่ลูกแฝดกับชบาแก้วถูกทหารหงสาวดีจับไปเป็นเชลย ทำให้ก้านกล้วยต้องตัดสินใจเลือกทางเดินระหว่างครอบครัวกับบ้านเมือง ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้งบประมาณในการสร้าง 120 ล้านบาท แต่ทำรายได้เพียง 79 ล้านบาท
หลังจากที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเอาชนะสงครามยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชมังกะยอชวากรุงศรีอยุทธยาก็สงบสุขและได้รับเอกราชจากหงสาวดี แต่ผลจากสงครามยุทธหัตถีครั้งนั้นสร้างความแค้นใจให้กับพระเจ้านันทบุเรงเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้องสูญเสียลูกชายด้วยน้ำมือของพระนเรศวร จึงยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาเสมอ
พระนเรศวรทรงแต่งตั้งให้ก้านกล้วยรับตำแหน่งเป็นเจ้าพระยาปราบหงสาวดี สล็อตxo และร่วมออกศึกคู่พระองค์เรื่อยมา แต่เนื่องจากต้องออกศึกบ่อยครั้ง ก้านกล้วยที่แต่งงานกับชบาแก้วและกำลังจะมีลูกด้วยกันจึงไม่มีเวลาดูแลชบาแก้วเท่าที่ควร ทำให้ชบาแก้วทุกข์ใจและหนีก้านกล้วยไปอยู่ที่หมู่บ้านหินขาว(หมู่บ้านที่ชบาแก้วเคยอาศัยอยู่) พร้อมกับแสงดา แม่ของก้านกล้วย และได้คลอดลูกออกมา เป็นช้างแฝดชื่อ ต้นอ้อและกอแก้ว
บทความต่อไปที่น่าสนใจ teenee